แนวทางการจัดท าและการเสนอร่างกฎหมาย ตามบทบัญญัติมาตรา ๗๗ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

แนวทางการจัดท าและการเสนอร่างกฎหมาย ตามบทบัญญัติมาตรา ๗๗

ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

โดยที่เป็นการสมควรก าหนดหลักเกณฑ์และแนวทางเกี่ยวกับการร่างกฎหมาย

 

การตรวจพิจารณาร่างกฎหมาย  และแนวทางการรับฟังความคิดเห็นประกอบการจัดท าร่างกฎหมาย รวมทั้งการวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมาย เพื่อให้หน่วยงานของรัฐใช้เป็นกรอบ หรือแนวทางการด าเนินการในการจัดท าร่างกฎหมายในระดับพระราชบัญญัติ เพื่อให้เป็นไปตาม บทบัญญัติมาตรา ๗๗ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

ส่วนที่ ๑ หลักเกณฑ์การร่างกฎหมายและการตรวจพิจารณาร่างกฎหมายของหน่วยงานของรัฐ

ในการจัดท าร่างกฎหมายในระดับพระราชบัญญัติ ให้หน่วยงานของรัฐด าเนินการ

ตามหลักเกณฑ์และแนวทางดังต่อไปนี้

. ร่างกฎหมายต้องสอดคล้องและไม่ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญและ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ

๑.๑ ในกรณีที่กฎหมายที่มีอยู่ขัดหรือแย้งต่อหน้าที่ของรัฐ หน่วยงานของรัฐ ที่รับผิดชอบมีหน้าที่ต้องแก้ไขเพิ่มเติมหรือยกเลิกกฎหมายนั้นในโอกาสแรก

๑.๒ การร่างกฎหมายเพื่อก าหนดให้รัฐมีหน้าที่ต้องด าเนินการในเรื่องใด  ร่างกฎหมายในเรื่องนั้นต้องมีมาตรฐานสอดคล้องกับหน้าที่ของรัฐตามที่รัฐธรรมนูญก าหนด

๑.๓ การร่างกฎหมายที่จ ากัดสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคล ต้องยึดหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้

(๑) ในกรณีที่สิทธิหรือเสรีภาพนั้นได้รับการรับรองไว้โดยชัดแจ้ง ในบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ  ให้หน่วยงานของรัฐพิจารณาเงื่อนไขหรือเหตุในการจ ากัดสิทธิ หรือเสรีภาพตามที่รัฐธรรมนูญก าหนด โดยพิจารณาประกอบค าพิพากษาหรือค าวินิจฉัยของศาลฎีกา ศาลปกครองสูงสุด หรือศาลรัฐธรรมนูญ รวมทั้งความเห็นของคณะกรรมการกฤษฎีกาด้วย             (๒) การร่างกฎหมายต้องไม่ขัดต่อหลักนิติธรรม ไม่เพิ่มภาระหรือจ ากัดสิทธิ หรือเสรีภาพของบุคคลเกินสมควรแก่เหตุ ไม่กระทบต่อศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ไม่เลือกปฏิบัติ โดยไม่เป็นธรรม รวมทั้งต้องระบุเหตุผลความจ าเป็นในการจ ากัดสิทธิและเสรีภาพไว้ด้วย

(๓) ร่างกฎหมายต้องมีผลใช้บังคับเป็นการทั่วไป ไม่ใช้บังคับแก่กรณีหนึ่ง กรณีใดหรือแก่บุคคลหนึ่งบุคคลใดเป็นการเฉพาะเจาะจง เว้นแต่มีกฎหมายในรูปแบบบางประเภท ที่รัฐธรรมนูญบัญญัติให้กระท าได้ เช่น กฎหมายเวนคืนอสังหาริมทรัพย์โดยระบุเจาะจงอสังหาริมทรัพย์

หรือเจ้าของอสังหาริมทรัพย์ที่ถูกเวนคืนตามความจ าเป็น หรือกฎหมายโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน

๑.๔ การร่างกฎหมายต้องสอดคล้องและไม่ขัดหรือแย้งกับแนวนโยบายแห่งรัฐ

 

. ร่างกฎหมายต้องสอดคล้องและไม่ขัดหรือแย้งกับยุทธศาสตร์ชาติและ แผนการปฏิรูปประเทศ การร่างกฎหมายต้องสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติอันเป็นเป้าหมายของการ พัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนตามหลักธรรมาภิบาล  และต้องค านึงถึงแนวทางการปฏิรูปประเทศ ตามหมวด ๑๖ การปฏิรูปประเทศ ของรัฐธรรมนูญ และแผนการปฏิรูปประเทศตามกฎหมาย ว่าด้วยแผนและขั้นตอนการด าเนินการปฏิรูปประเทศ

 

. การร่างกฎหมายต้องค านึงถึงหรือพิจารณาด าเนินการให้สอดคล้องกับ หลักการและสาระส าคัญของพระราชบัญญัติการอ านวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาต ของทางราชการ พ.. ๒๕๕๘ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี พ.. ๒๕๔๖ และพระราชกฤษฎีกาการทบทวนความเหมาะสมของกฎหมาย  พ.. ๒๕๕๘

๓.๑ การร่างกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุญาต การก าหนดระยะเวลา

หรือขั้นตอนในการพิจารณาค าขออนุญาต การด าเนินการต่าง ๆ ต้องค านึงถึงหลักการ และสาระส าคัญของพระราชบัญญัติการอ านวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘

๓.๒ การร่างกฎหมายต้องค านึงถึงหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖

๓.๓ หน่วยงานของรัฐต้องยกเลิกหรือปรับปรุงกฎหมายที่หมดความจ าเป็น

หรือไม่สอดคล้องกับสภาพการณ์ หรือที่เป็นอุปสรรคต่อการด ารงชีวิตหรือการประกอบอาชีพ โดยไม่ชักช้าเพื่อไม่ให้เป็นภาระแก่ประชาชน  ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ก าหนดไว้ใน

พระราชกฤษฎีกาการทบทวนความเหมาะสมของกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๕๘

 

. ร่างกฎหมายต้องสอดคล้องกับหลักการตามมาตรา ๗๗ ของรัฐธรรมนูญ

๔.๑ การจัดให้มีกฎหมาย ให้กระท าได้เพียงเท่าที่จ าเป็น

๔.๒ ในการเสนอร่างกฎหมายต่อคณะรัฐมนตรี ให้หน่วยงานของรัฐตรวจสอบ

ความจ าเป็นในการตรากฎหมายอย่างเคร่งครัด  ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ในการตรวจสอบความจ าเป็น ในการตราพระราชบัญญัติ  และให้ส านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีวิเคราะห์และเสนอความเห็น เกี่ยวกับความจ าเป็นในการตรากฎหมายเพื่อประกอบการพิจารณาของคณะรัฐมนตรี  และในกรณีที่ คณะรัฐมนตรีมีมติส่งร่างกฎหมายให้ส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา  ให้ส านักงาน คณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจสอบอีกครั้งหนึ่งด้วยว่ามีความจ าเป็นต้องตรากฎหมายฉบับนั้นหรือไม่  และการเสนอร่างกฎหมายกลับไปยังคณะรัฐมนตรี ให้คณะกรรมการกฤษฎีกาซึ่งตรวจพิจารณา ร่างกฎหมายดังกล่าวให้ความเห็นเกี่ยวกับความจ าเป็นและประโยชน์ที่จะเกิดจากร่างกฎหมายนั้นด้วย            ๔.๓ การร่างกฎหมายเพื่อให้มีระบบอนุญาต ให้กระท าได้เพียงเท่าที่จ าเป็น เช่น กรณีเพื่อรักษาความมั่นคงแห่งราชอาณาจักร ความปลอดภัยสาธารณะ หรือศีลธรรมอันดี ของประชาชน  หรือเพื่อประโยชน์ในการรักษาความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ   และในกรณีจ าเป็นต้องก าหนดให้มีระบบอนุญาตไว้ในร่างกฎหมาย ให้ยึดหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้

(๑) ต้องระบุวัตถุประสงค์ในการอนุญาตไว้ในการเสนอร่างกฎหมายโดยชัดแจ้ง    (๒) ต้องบัญญัติหลักเกณฑ์และระยะเวลาการอนุญาตหรือไม่อนุญาต

ไว้ในร่างพระราชบัญญัติให้ชัดเจน และก าหนดกรอบหลักเกณฑ์ในการออกกฎหมายล าดับรองไว้ด้วย

(๓) หน่วยงานของรัฐที่พิจารณาอนุญาตต้องแสดงหลักฐานความพร้อม

และศักยภาพที่จะตรวจสอบให้การกระท านั้นเป็นไปตามที่ได้รับอนุญาตได้อย่างแท้จริง

(๔) ให้ก าหนดอายุการได้รับอนุญาตเฉพาะกรณีที่จ าเป็น และในกรณีที่มี การก าหนดอายุการได้รับอนุญาตและการต่ออายุการได้รับอนุญาต ต้องแสดงเหตุผลของการขอต่ออายุ การได้รับอนุญาต และต้องมีการตรวจสอบการด าเนินการตามที่ได้รับอนุญาตที่ผ่านมาด้วย   ทั้งนี้ ให้ค านึงถึงหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการช าระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตแทนการยื่นค าขอต่ออายุ ใบอนุญาต ซึ่งบัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติการอ านวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาต ของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘

(๕) ให้น าระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เพื่ออ านวยความสะดวก

ในการขออนุญาต และการบังคับการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการอนุญาตนั้น

๔.๔ การร่างกฎหมายเพื่อให้มีระบบคณะกรรมการ ให้กระท าได้เพียงเท่าที่

จ าเป็น กรณีจ าเป็นเช่นว่านั้นเช่น การก าหนดให้มีคณะกรรมการขึ้นเพื่อท าหน้าที่

(๑) วางกฎเกณฑ์ในการก ากับควบคุมกิจกรรมทางเศรษฐกิจ

(๒) วินิจฉัยชี้ขาด

(๓) ให้ค าปรึกษาทางเทคนิคหรือเป็นเรื่องซึ่งต้องการความรู้ความเชี่ยวชาญ เฉพาะด้านประกอบการตัดสินใจของผู้มีหน้าที่และอ านาจตามกฎหมาย

(๔) พิจารณาหาข้อยุติที่ได้รับการยอมรับร่วมกัน โดยมีตัวแทนจากภาคส่วน ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง

๔.๕ ในกรณีที่จ าเป็นต้องมีระบบคณะกรรมการ  ต้องพิจารณาให้สอดคล้อง กับหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้

(๑) การก าหนดขั้นตอนและวิธีการแต่งตั้งคณะกรรมการต้องไม่เป็นการเพิ่ม พระราชภาระโดยไม่จ าเป็น

(๒) คณะกรรมการซึ่งท าหน้าที่วางกฎเกณฑ์หรือคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาด ต้องไม่มีผู้ด ารงต าแหน่งทางการเมือง หรือผู้แทนหน่วยงานของรัฐที่อาจจะต้องอยู่ภายใต้กฎเกณฑ์นั้น หรืออาจเป็นคู่กรณีในเรื่องนั้น และต้องมีการแยกหน้าที่ระหว่างผู้วางกฎเกณฑ์หรือผู้ก ากับควบคุม ออกจากผู้ปฏิบัติ

(๓) ไม่ก าหนดให้นายกรัฐมนตรีเป็นประธานกรรมการ เว้นแต่เป็นคณะกรรมการ ที่ก าหนดนโยบายระดับชาติ

(๔) กรรมการโดยต าแหน่งพึงมีตามความจ าเป็น และการก าหนดให้ผู้ด ารง

ต าแหน่งบางต าแหน่งเป็นกรรมการสมควรพิจารณาก าหนดเท่าที่จ าเป็น เช่น ผู้อ านวยการส านัก งบประมาณ เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เลขาธิการ ก.พ. เนื่องจากต าแหน่งดังกล่าวมีหน้าที่ต้องให้ความเห็นประกอบการพิจารณาของคณะรัฐมนตรีในเรื่อง ที่เกี่ยวข้องอยู่แล้ว  และในกรณีที่มีกรรมการโดยต าแหน่ง เมื่อคณะกรรมการนั้นมีมติในเรื่องใด  มติดังกล่าวย่อมผูกพันองค์กรที่กรรมการโดยต าแหน่งผู้นั้นด ารงต าแหน่งอยู่ด้วย เว้นแต่กรรมการผู้นั้น

ได้แสดงความไม่เห็นด้วย โดยวิธีการลงคะแนนคัดค้าน หรือบันทึกข้อไม่เห็นด้วยในรายงาน การประชุมแล้ว

(๕) การแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ให้ก าหนดเงื่อนไขเกี่ยวกับ

ความเชี่ยวชาญในเรื่องซึ่งเป็นหน้าที่และอ านาจของคณะกรรมการอย่างแท้จริง และห้ามแต่งตั้งบุคคล ซึ่งมีลักษณะการขัดกันแห่งผลประโยชน์  ทั้งนี้ ในการก าหนดวาระการด ารงต าแหน่งของกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิต้องสอดคล้องกับหน้าที่และอ านาจของคณะกรรมการนั้นด้วย

๔.๖ การร่างกฎหมายเพื่อก าหนดหลักเกณฑ์การใช้ดุลพินิจของเจ้าหน้าที่ของรัฐ และระยะเวลาในการด าเนินการตามขั้นตอนต่าง ๆ ต้องพิจารณาให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้

(๑) การใช้ดุลพินิจต้องไม่ขัดหรือแย้งกับหลักการส าคัญที่รัฐธรรมนูญรับรอง

(๒) การใช้ดุลพินิจต้องสอดคล้องกับหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

(๓) การใช้ดุลพินิจต้องพิจารณาอย่างรอบคอบ โดยอาจปรึกษาหารือ

หรือรับฟังข้อมูลเพิ่มเติมจากผู้ที่เกี่ยวข้อง และต้องเปิดโอกาสให้ผู้ที่อาจได้รับผลกระทบให้ข้อมูล และโต้แย้งคัดค้านได้ และต้องแสดงเหตุผลประกอบการใช้ดุลพินิจนั้นไว้ด้วย

(๔) การใช้ดุลพินิจต้องค านึงถึงหลักความพอสมควรแก่เหตุ และประโยชน์

ที่ส่วนรวมจะได้รับกับประโยชน์ที่เอกชนต้องเสียไป รวมทั้งความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นแก่เอกชน

(๕) เจ้าหน้าที่ซึ่งใช้อ านาจดุลพินิจต้องไม่มีส่วนได้เสียหรือมีผลประโยชน์

ทับซ้อนกับการใช้อ านาจดุลพินิจนั้น เว้นแต่เป็นกรณีที่มีความจ าเป็นเร่งด่วน และหากปล่อยให้ล่าช้า จะเกิดความเสียหายต่อประโยชน์สาธารณะหรือสิทธิของบุคคลโดยไม่มีทางแก้ไขได้

(๖) การก าหนดรูปแบบ ขั้นตอน และวิธีการ ตลอดจนระยะเวลา ส าหรับ

การด าเนินการในส่วนที่เป็นสาระส าคัญ และกรอบการใช้ดุลพินิจต้องชัดเจน  ส าหรับรายละเอียด ที่เกี่ยวกับวิธีปฏิบัติอาจก าหนดไว้ในกฎหมายล าดับรองได้

(๗) ให้ก าหนดแนวทางปฏิบัติในการใช้ดุลพินิจและเผยแพร่ให้ประชาชน

ทราบเป็นการทั่วไป

ส่วนที่ ๒

แนวทางการรับฟังความคิดเห็นประกอบการจัดท าร่างกฎหมาย และการวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมาย

ในการรับฟังความคิดเห็นประกอบการจัดท าร่างกฎหมายในระดับพระราชบัญญัติ

และการวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมาย  ให้หน่วยงานของรัฐด าเนินการตามหลักเกณฑ์ และแนวทางดังต่อไปนี้

๑. การจัดท าร่างกฎหมายของหน่วยงานของรัฐ

๑.๑ ให้หน่วยงานของรัฐจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นเพื่อประกอบการจัดท า ร่างกฎหมายในระดับพระราชบัญญัติ  โดยในการรับฟังความคิดเห็นอย่างน้อยต้องรับฟังผ่านระบบ

เทคโนโลยีสารสนเทศของหน่วยงานของรัฐนั้น หรือผ่านเว็บไซต์ www.lawamendment.go.th

หรือจะใช้วิธีอื่นใดด้วยก็ได้  ทั้งนี้ ระยะเวลาในการรับฟังความคิดเห็นต้องไม่น้อยกว่าสิบห้าวัน

๑.๒ ในการรับฟังความคิดเห็น ให้หน่วยงานของรัฐประกาศวิธีการรับฟัง

ความคิดเห็น ระยะเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดในการรับฟังความคิดเห็น รวมทั้งเปิดเผยข้อมูลประกอบ การรับฟังความคิดเห็น ซึ่งอย่างน้อยประกอบด้วย  (๑) สภาพปัญหาและสาเหตุของปัญหา  (๒) ความจ าเป็นที่ต้องตรากฎหมายขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหานั้น  (๓) หลักการอันเป็นสาระส าคัญ ของกฎหมายที่จะตราขึ้น และ  (๔) ประเด็นที่จะรับฟังความคิดเห็นหรือร่างพระราชบัญญัติที่จะรับฟัง ความคิดเห็น

๑.๓ เมื่อสิ้นสุดระยะเวลาการรับฟังความคิดเห็น ให้หน่วยงานของรัฐ

จัดท ารายงานสรุปผลการรับฟังความคิดเห็น โดยในรายงานสรุปผลการรับฟังความคิดเห็นอย่างน้อย ต้องประกอบด้วย  (๑) วิธีการในการรับฟังความคิดเห็น  (๒) จ านวนครั้งและระยะเวลาในการรับฟัง ความคิดเห็นแต่ละครั้ง  (๓) พื้นที่หรือกลุ่มเป้าหมายในการรับฟังความคิดเห็น  (๔) ประเด็นที่มีการ แสดงความคิดเห็น  (๕) ข้อคัดค้านหรือความเห็นของหน่วยงานและผู้เกี่ยวข้องในแต่ละประเด็น  และ

(๖) ค าชี้แจงเหตุผลรายประเด็น และ  (๗) การน าผลการรับฟังความคิดเห็นมาประกอบการพิจารณา จัดท าร่างกฎหมาย

๑.๔ ให้หน่วยงานของรัฐจัดท าค าชี้แจงตามหลักเกณฑ์การตรวจสอบ

ความจ าเป็นในการตราพระราชบัญญัติ (Checklist) ท้ายระเบียบว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการเสนอ เรื่องต่อคณะรัฐมนตรี พ.ศ. ๒๕๔๘ ที่ได้ปรับปรุง และคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๐ และในการส่งเรื่องไปยังส านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีเพื่อเสนอร่างกฎหมายที่ได้จัดท าขึ้น ให้เสนอพร้อมรายงานสรุปผลการรับฟังความคิดเห็นด้วย

๑.๕ ให้ส านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีวิเคราะห์ผลการรับฟังความคิดเห็น

ที่หน่วยงานของรัฐได้จัดท าขึ้นและวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมายตามหลักเกณฑ์ การตรวจสอบความจ าเป็นในการตราพระราชบัญญัติ (Checklist) เพื่อประกอบการพิจารณา ของคณะรัฐมนตรี       ในกรณีที่ส านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีตรวจสอบการด าเนินการรับฟัง

ความคิดเห็นในการจัดท าร่างกฎหมายของหน่วยงานของรัฐ และตรวจสอบการวิเคราะห์ผลกระทบ ที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมายตามหลักเกณฑ์การตรวจสอบความจ าเป็นในการตราพระราชบัญญัติ (Checklist) แล้วเห็นว่าจ าเป็นต้องจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นหรือการวิเคราะห์ผลกระทบ ที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมายเพิ่มเติม  ให้ส านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีส่งเรื่องคืนเพื่อให้หน่วยงานของรัฐ ที่เสนอเรื่องด าเนินการเพิ่มเติมโดยให้ระบุการด าเนินการให้ชัดเจนด้วย และเมื่อด าเนินการเสร็จแล้วให้ ส่งเรื่องไปยังส านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีต่อไป

๑.๖ ในกรณีที่คณะรัฐมนตรีมีมติส่งร่างกฎหมายให้ส านักงานคณะกรรมการ

กฤษฎีกาตรวจพิจารณา  ให้ส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาน าผลการรับฟังความคิดเห็นและ การวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมายที่หน่วยงานของรัฐได้จัดท าขึ้นมาประกอบการ ตรวจพิจารณาร่างกฎหมาย        ในกรณีที่ส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจสอบการด าเนินการรับฟัง

ความคิดเห็นในการจัดท าร่างกฎหมายของหน่วยงานของรัฐ และตรวจสอบการวิเคราะห์ผลกระทบ ที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมายตามหลักเกณฑ์การตรวจสอบความจ าเป็นในการตราพระราชบัญญัติ (Checklist) แล้วเห็นว่าจ าเป็นต้องจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นเพิ่มเติม  ส านักงานคณะกรรมการ กฤษฎีกาอาจด าเนินการดังกล่าวเอง หรือจะขอให้หน่วยงานของรัฐเจ้าของเรื่องเป็นผู้ด าเนินการก็ได้  ๖

และเมื่อได้ด าเนินการแล้ว ให้จัดท ารายงานสรุปผลการรับฟังความคิดเห็นเพิ่มเติมด้วย  ส าหรับกรณีที่ ส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเห็นว่าจ าเป็นต้องมีการวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจาก กฎหมายเพิ่มเติม  ส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาอาจด าเนินการดังกล่าวเอง หรือจะขอให้ หน่วยงานของรัฐเจ้าของเรื่องเป็นผู้ด าเนินการดังกล่าวเพิ่มเติมก็ได้ เพื่อน ามาประกอบการตรวจ พิจารณาร่างกฎหมายต่อไป

๑.๗ ในกรณีที่ร่างกฎหมายที่ผ่านการตรวจพิจารณาของส านักงานคณะกรรมการ

กฤษฎีกามีการแก้ไขเพิ่มเติมเนื้อหาของร่าง และสมควรแก้ไขการวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น จากกฎหมายเพิ่มเติมตามประเด็นที่มีการแก้ไข  ให้ส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาแจ้งให้หน่วยงาน เจ้าของเรื่องด าเนินการดังกล่าว และให้ส่งค าชี้แจงตามหลักเกณฑ์การตรวจสอบความจ าเป็นในการตรา พระราชบัญญัติ (Checklist) ที่ได้ด าเนินการดังกล่าวแล้วมาพร้อมกับการยืนยันให้ความเห็นชอบ ร่างกฎหมาย เพื่อให้ส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาด าเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป

 

๒. การด าเนินการกรณีร่างกฎหมายที่อยู่ระหว่างส านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี

ด าเนินการเสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรี       ให้ส านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีพิจารณาด าเนินการตามแนวทางที่ก าหนดไว้

ในข้อ ๑.๕

 

๓. การด าเนินการกรณีร่างกฎหมายที่อยู่ระหว่างการตรวจพิจารณาของส านักงาน

คณะกรรมการกฤษฎีกา      ให้ส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาพิจารณาด าเนินการตามแนวทางที่ก าหนดไว้

ในข้อ ๑.๖ หรือข้อ ๑.๗  ส าหรับกรณีการด าเนินการตามข้อ ๑.๗ หากหน่วยงานของรัฐได้มีหนังสือ ยืนยันให้ความเห็นชอบร่างกฎหมายแล้ว ให้ส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกามีหนังสือขอให้ หน่วยงานของรัฐที่เสนอร่างกฎหมายด าเนินการตามที่ก าหนดไว้ในข้อ ๑.๗ ได้

 

๔. การด าเนินการกรณีร่างกฎหมายที่ผ่านการตรวจพิจารณาของส านักงาน

คณะกรรมการกฤษฎีกาและอยู่ระหว่างการด าเนินการของส านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี      ในกรณีที่ส านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีเห็นว่า ร่างกฎหมายที่ผ่านการ

ตรวจพิจารณาของส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกามีการแก้ไขเพิ่มเติมเนื้อหาของร่างจนแตกต่าง จากร่างที่หน่วยงานของรัฐเสนอ และสมควรแก้ไขการวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมาย เพิ่มเติมตามประเด็นที่มีการแก้ไข  ให้ส านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีแจ้งให้หน่วยงานเจ้าของเรื่อง ด าเนินการดังกล่าว และให้ส่งค าชี้แจงตามหลักเกณฑ์การตรวจสอบความจ าเป็นในการตรา พระราชบัญญัติ (Checklist) ที่ได้ด าเนินการดังกล่าวแล้วมายังส านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เพื่อด าเนินการต่อไป

 

๕. ในกรณีร่างกฎหมายใดมีความจ าเป็นเร่งด่วนหรือต้องด าเนินการเป็นการลับ หน่วยงานของรัฐเจ้าของเรื่องจะด าเนินการรับฟังความคิดเห็นประกอบการจัดท าร่างกฎหมาย ให้แตกต่างจากแนวทางตามที่ก าหนดไว้ในข้อ ๑.๑ หรือข้อ ๑.๒ ก็ได้  แต่หน่วยงานของรัฐเจ้าของเรื่อง ต้องแสดงเหตุผลความจ าเป็นดังกล่าวต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาเป็นรายกรณีไป

 

 

 

หลักเกณฑ์ในการตรวจสอบความจ าเป็นในการตราพระราชบัญญัติ (Checklist)

 

ร่างพระราชบัญญัติ.................................................................................................................................  กฎหมายใหม่                   แก้ไข/ปรับปรุง                  ยกเลิก

ส่วนราชการหรือหน่วยงานผู้เสนอ..........................................................................................................

 

๑. วัตถุประสงค์และเป้าหมายของภารกิจ

๑.๑ วัตถุประสงค์และเป้าหมายของภารกิจคืออะไร…………………………………………………..............                   เพื่อแก้ไขปัญหาหรือข้อบกพร่องใด…………………….................................................................     ๑.๒ ความจ าเป็นที่ต้องท าภารกิจ..……...........................................................................................              หากไม่ท าภารกิจนั้นจะมีผลประการใด………………………………………………………………….........  ๑.๓ การด าเนินการเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์มีกี่ทางเลือก มีทางเลือกอะไรบ้าง............................   แต่ละทางเลือกมีข้อดีข้อเสียอย่างไร.......................................................................................         ๑.๔ มาตรการที่บรรลุวัตถุประสงค์ของภารกิจคืออะไร..................................................................

๑.๕ ภารกิจนั้นจะแก้ไขปัญหาหรือข้อบกพร่องนั้นได้เพียงใด………………………………………….........

๑.๖ ผลสัมฤทธิ์ของภารกิจคืออะไร................................................................................................   ตัวชี้วัดความสัมฤทธิ์ของกฎหมายมีอย่างไร............................................................................  ๑.๗ การท าภารกิจสอดคล้องกับพันธกรณีและความผูกพันตามหนังสือสัญญาที่ประเทศไทย   มีต่อรัฐต่างประเทศหรือองค์การระหว่างประเทศใด ในเรื่องใด..............................................

การด าเนินการดังกล่าวจะเป็นผลดีหรือก่อให้เกิดภาระแก่ประเทศไทยหรือไม่ อย่างไร

...............................................................................................................................................

 

๒. ผู้ท าภารกิจ

๒.๑  เมื่อค านึงถึงประสิทธิภาพ ต้นทุน และความคล่องตัวแล้ว เหตุใดจึงไม่ควรให้เอกชน   ท าภารกิจนี้.............................................................................................................................         ภารกิจนี้ควรท าร่วมกับเอกชนหรือไม่ อย่างไร......................................................................

๒.๒  เมื่อค านึงถึงประสิทธิภาพและประโยชน์ที่จะเกิดแก่การให้บริการประชาชน ควรท า   ภารกิจนี้ร่วมกับหน่วยงานอื่นหรือไม่  เพราะเหตุใด...............................................................  ๒.๓  ภารกิจดังกล่าวหากให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นท า จะได้ประโยชน์แก่ประชาชน   มากกว่าหรือไม่.......................................................................................................................

๓. ความจ าเป็นในการตรากฎหมาย

๓.๑ การจัดท าภารกิจนั้นมีความสอดคล้องกับเรื่องใด อย่างไร    หน้าที่หลักของหน่วยงานของรัฐ (ตามภารกิจพื้นฐาน (Function)) ในเรื่อง.....................    หน้าที่ของรัฐและแนวนโยบายแห่งรัฐ ในเรื่อง...................................................................    ยุทธศาสตร์ชาติ ในเรื่อง....................................................................................................    แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ในเรื่อง..............................................................    แนวทางการปฏิรูปประเทศ ในเรื่อง.................................................................................. ๒

๓.๒  การท าภารกิจนั้นสามารถใช้มาตรการทางบริหารโดยไม่ต้องออกกฎหมายได้หรือไม่.............   ถ้าใช้มาตรการทางบริหารจะมีอุปสรรคอย่างไร .....................................................................  ๓.๓  ในการท าภารกิจนั้น เหตุใดจึงจ าเป็นต้องตรากฎหมายในขณะนี้............................................

๓.๔ การใช้บังคับกฎหมายและระยะเวลาในการใช้บังคับกฎหมาย

(ก) การใช้บังคับกฎหมาย

ต้องใช้บังคับพร้อมกันทุกท้องที่ทั่วประเทศ เนื่องจาก.....................................................

ทยอยใช้บังคับเป็นท้องที่ ๆ ไป เนื่องจาก........................................................................

ใช้บังคับเพียงบางท้องที่ เนื่องจาก..................................................................................

(ข) ระยะเวลาในการใช้บังคับกฎหมาย

ใช้บังคับทันทีที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เนื่องจาก...................................................    มีการทอดระยะเวลาในการบังคับใช้เป็นเวลาเท่าใด เพราะเหตุใด....................................    ควรก าหนดระยะเวลาการสิ้นสุดไว้ด้วยหรือไม่ เพราะเหตุใด............................................

๓.๕

เหตุใดจึงไม่สมควรตราเป็นกฎในลักษณะอื่น เช่น ข้อบัญญัติท้องถิ่น.....................................

๓.๖

ลักษณะการใช้บังคับ

ควบคุม           ก ากับ/ตดิ ตาม (ข้ามไปข้อ ๓.๘)        ส่งเสริม         ระบบผสม

 

เหตุใดจึงต้องใช้ระบบดังกล่าว...............................................................................................

๓.๗

การใช้ระบบอนุญาตในกฎหมาย

 

๓.๗.๑  เพราะเหตุใดจึงก าหนดให้ใช้ระบบอนุญาต หรือใช้ระบบอื่นที่มีผลเป็นการควบคุม

 

.......................................................................................................................................

 

๓.๗.๒ มีการก าหนดค่าธรรมเนียมการอนุญาตหรือไม่ ถ้ามี มีความจ าเป็นอย่างไร

 

คุ้มค่าตอ่ภาระที่เกิดแก่ประชาชนอย่างไร.................................................................

 

๓.๗.๓ มีหลักเกณฑ์การใช้ดุลพินิจในการอนุญาตหรือไม่ อย่างไร........................................

 

๓.๗.๔  มีขั้นตอนและระยะเวลาที่แน่นอนในการอนุญาตหรือไม่...........................................

 

๓.๗.๕ มีการเปิดโอกาสให้อุทธรณ์การปฏิเสธค าขอ การให้ยื่นค าขอใหม่ หรือไม่ อย่างไร

 

..................................................................................................................................

 

๓.๗.๖  มีการต่ออายุการอนุญาตหรือไม่...............................................................................

 

มีการตรวจสอบก่อนการต่อใบอนุญาตหรือไม่............................................................

๓.๘

การใช้ระบบคณะกรรมการในกฎหมาย

 

๓.๘.๑  กฎหมายที่จะตราขึ้นมีการใช้ระบบคณะกรรมการ หรือไม่ มีความจ าเป็นอย่างไร

 

..................................................................................................................................

 

๓.๘.๒  คณะกรรมการที่ก าหนดขึ้นมีอ านาจซ้ าซ้อนกับคณะกรรมการอื่นหรือไม่..................

 

หากมีความซ้ าซ้อน จะด าเนินการอย่างไรกับคณะกรรมการอื่นนั้น...........................

 

๓.๘.๓ องค์ประกอบของคณะกรรมการมีผู้ด ารงต าแหน่งทางการเมือง หรือนายกรัฐมนตรี

 

หรือหัวหน้าส่วนราชการหรือไม่................................................................................

 

เหตุใดจึงต้องก าหนดให้บุคคลดังกล่าวเป็นองค์ประกอบของคณะกรรมการ.............

๓.๙ มีกรอบหรือแนวทางการใช้ดุลพินิจของเจ้าหน้าที่หรือไม่ อย่างไร..........................................

๓.๑๐ ประเภทของโทษที่ก าหนด

โทษทางอาญา                โทษทางปกครอง           ระบบผสม

๓.๑๑ การก าหนดโทษทางอาญาจะท าให้การบังคับใช้กฎหมายสัมฤทธิ์ผล เพราะเหตุใด......................

๓.๑๒ ความผิดที่ก าหนดให้เป็นโทษทางอาญาเป็นความผิดที่มีความร้ายแรงอย่างไร........................

 

๔. ความซ้ าซ้อนกับกฎหมายอื่น

๔.๑ การด าเนินการตามภารกิจในเรื่องนี้มีกฎหมายอื่นในเรื่องเดียวกันหรือท านองเดียวกัน      หรือไม่....................................................................................................................................

๔.๒ ในกรณีที่มีกฎหมายขึ้นใหม่ เหตุใดจึงไม่ยกเลิก แก้ไขหรือปรับปรุงกฎหมายในเรื่องเดียวกัน

หรือท านองเดียวกันที่มีอยู่......................................................................................................

๕. ผลกระทบและความคุ้มค่า

๕.๑ ผู้ซึ่งได้รับผลกระทบจากการบังคับใช้กฎหมาย.......................................................................  ผู้มีหน้าที่ตามร่างกฎหมายหรือที่จะได้รับผลกระทบจากร่างกฎหมายนั้นโดยตรง...........  ผู้ที่อยู่ในพื้นที่ที่อาจได้รับผลกระทบจากร่างกฎหมาย.....................................................

๕.๒ ผลกระทบที่เกิดขึ้นแก่บุคคลดังกล่าว  ด้านเศรษฐกิจ

-                 เชิงบวก..........................................................................................................................       ผู้ได้รับผลกระทบเชิงบวก..............................................................................................         - เชิงลบ............................................................................................................................

ผู้ได้รับผลกระทบเชิงลบ.................................................................................................  ด้านสังคม

-                 เชิงบวก..........................................................................................................................           ผู้ได้รับผลกระทบเชิงบวก...............................................................................................           - เชิงลบ............................................................................................................................

ผู้ได้รับผลกระทบเชิงลบ.................................................................................................

ด้านอื่น ๆ ........................................................................................................................          - เชิงบวก..........................................................................................................................             ผู้ได้รับผลกระทบเชิงบวก...............................................................................................            - เชิงลบ............................................................................................................................

ผู้ได้รับผลกระทบเชิงลบ.................................................................................................            ๕.๓ สิทธิและเสรีภาพของบุคคลในเรื่องใดบ้างที่ต้องถูกจ ากัด.......................................................             การจ ากัดนั้นเป็นการจ ากัดเท่าที่จ าเป็นหรือไม่...................อย่างไร........................................

๕.๔ ประโยชน์ที่ประชาชนและสังคมจะได้รับ

๕.๔.๑ ประชาชนจะมีการด ารงชีวิตที่ดีขึ้นในเรื่องใด อย่างไร และเพียงใด หรือเป็นการ    อ านวยความสะดวกแก่ประชาชนมากน้อยเพียงใด...................................................   ๕.๔.๒ เศรษฐกิจหรือสังคมมีการพัฒนาอย่างยั่งยืนได้เพียงใด ............................................    การประกอบกิจการเป็นไปโดยสะดวกหรือลดต้นทุนของผู้ประกอบการได้มากน้อย    เพียงใด...................................................................................................................... ๔

ยกระดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศได้มากน้อยเพียงใด.........................                และส่งเสริมการวิจัยและพัฒนามากน้อยเพียงใด......................................................                      ๕.๔.๓ เสริมสร้างประสิทธิภาพหรือนวัตกรรมในการปฏิบัติราชการอย่างไร........................          สามารถลดงบประมาณแผ่นดินได้มากน้อยเพียงใด...................................................       ๕.๔.๔ วิธีการและระยะเวลาประเมินผลสัมฤทธิ์ ตลอดจนประโยชน์ที่ประชาชนและสังคม

จะได้รับ ได้แก่........................................................................................................... ๕.๕ ความยุ่งยากที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการปฏิบัติตามกฎหมาย..................................................      ๕.๖ ความคุ้มค่าของภารกิจเมื่อค านึงถึงงบประมาณที่ต้องใช้ ภาระหน้าที่ที่เกิดขึ้นกับประชาชน   และการที่ประชาชนจะต้องถูกจ ากัดสิทธิเสรีภาพเทียบกับประโยชน์ที่ได้รับ..........................

 

๖. ความพร้อมของรัฐ

๖.๑ ความพร้อมของรัฐ

(ก) ก าลังคนที่คาดว่าต้องใช้....................................................................................................   (ข) คุณวุฒิและประสบการณ์ของเจ้าหน้าที่ที่จ าเป็นต้องมี......................................................   (ค) งบประมาณที่คาดว่าต้องใช้ในระยะห้าปีแรกของการบังคับใช้กฎหมาย...........................     โดยเป็นงบด าเนินงานจ านวน................................และงบลงทุนจ านวน.................................  ๖.๒ ในกรณีที่เป็นร่างกฎหมายที่มีผลต่อการจัดตั้งหน่วยงานหรืออัตราก าลัง มีความเห็นของ   หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการก าหนดอัตราก าลังและงบประมาณหรือไม่ อย่างไร..........

๖.๓ วิธีการที่จะให้ผู้อยู่ภายใต้บังคับของกฎหมายมีความเข้าใจและพร้อมที่จะปฏิบัติตาม

กฎหมาย

วิธีการสร้างความรับรู้ความเข้าใจแก่ประชาชนผู้อยู่ภายใต้กฎหมาย..............................

การเข้าถึงข้อมูลของประชาชน.......................................................................................

๗. หน่วยงานที่รับผิดชอบและผู้รักษาการตามกฎหมาย

๗.๑  มีหน่วยงานอื่นใดที่ปฏิบัติภารกิจซ้ าซ้อนหรือใกล้เคียงกันหรือไม่ มีข้อเสนอแนะในการ   ด าเนินการกับหน่วยงานนั้นอย่างไร........................................................................................  ๗.๒  มีความเกี่ยวข้องหรือมีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นหรือไม่ อย่างไร............

๗.๓  มีการบูรณาการการท างานร่วมกับหน่วยงานอื่นหรือไม่ อย่างไร............................................    ๗.๔ ผู้รักษาการตามกฎหมาย ได้แก่...............................................................................................        การก าหนดให้ผู้ด ารงต าแหน่งดังกล่าวเป็นผู้รักษาการตามกฎหมายเนื่องจาก........................

 

๘. วิธีการท างานและตรวจสอบ

๘.๑ ระบบการท างานที่ก าหนดสอดคล้องกับหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีหรือไม่  เกิดประโยชน์สุขของประชาชน  เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ

มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ  ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจ าเป็น  มีการปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทันต่อสถานการณ์ ๕

ประชาชนได้รับการอ านวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ  มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอย่างสม ่าเสมอ

๘.๒  การเปิดเผยการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ

 

๘.๒.๑ ในกฎหมายมีการก าหนดขั้นตอนการด าเนินการของเจ้าหน้าที่ของรัฐในเรื่องใดบ้าง

 

................................แต่ละขั้นตอนใช้เวลาด าเนินการเท่าใด.....................................

 

๘.๒.๒ หากมีการใช้ดุลพินิจ การใช้ดุลพินิจสอดคล้องกับหลักธรรมาภิบาลและหลักนิติธรรม

 

อย่างไร......................................................................................................................

 

๘.๒.๓  ในการพิจารณาของเจ้าหน้าที่ใช้หลักกระจายอ านาจ หรือมอบอ านาจเพื่อให้ประชาชน ได้รับการบริการที่สะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพอย่างไร.................................

๘.๓

มีระบบการตรวจสอบและคานอ านาจอย่างไรบ้าง..................................................................

 

๘.๓.๑ มีระบบการตรวจสอบการปฏิบัติงานภายในหรือไม่ อย่างไร.......................................

 

๘.๓.๒ มีกระบวนการร้องเรียนจากบุคคลภายนอกหรือไม่ อย่างไร........................................

 

๙. การจัดท ากฎหมายล าดับรอง

๙.๑ ได้จัดท าแผนในการจัดท ากฎหมายล าดับรอง กรอบระยะเวลา ตลอดจนกรอบสาระส าคัญ   ของกฎหมายล าดับรองนั้น หรือไม่......................................................................................... ได้ยกร่างกฎหมายล าดับรองในเรื่องใดบ้าง.............................................................................  ๙.๒ มีกรอบในการตราอนุบัญญัติเพื่อป้องกันการขยายอ านาจหน้าที่ของรัฐหรือเพิ่มภาระแก่   บุคคลเกินสมควรอย่างไร........................................................................................................

๑๐. การรับฟังความคิดเห็น

มีการรับฟังความคิดเห็น                     ไม่ได้รับฟังความคิดเห็น

๑๐.๑ ผู้ที่เกี่ยวข้องหรืออาจได้รับผลกระทบที่รับฟังความคิดเห็น

หน่วยงานภาครัฐ    ส านักงบประมาณ  ส านักงาน ก.พ.

ส านักงาน ก.พ.ร.   ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ   หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับภารกิจ ได้แก่....................................................................................

ภาคประชาชน/องค์กรอื่นที่เกี่ยวข้อง

ประชาชนที่ได้รับหรืออาจได้รับผลกระทบ  ประชาชนทั่วไป   องค์กรอื่น ได้แก่.........................................................................................................

๑๐.๒ มีการเปิดเผยผลการรับฟังความคิดเห็นต่อประชาชนหรือไม่ อย่างไร.....................................      ๑๐.๓ จัดท าสรุปผลการรับฟังความคิดเห็นและเสนอมาประกอบการพิจารณาของคณะรัฐมนตรี        จัดท า                                           ไม่มีการจัดท า

ในกรณีจัดท าสรุปผลการรับฟังความคิดเห็น มีสาระส าคัญในเรื่องดังต่อไปนี้หรือไม่

วิธีการในการรับฟังความคิดเห็น

จ านวนครั้งและระยะเวลาในการรับฟังความคิดเห็นแต่ละครั้ง

พื้นที่ในการรับฟังความคิดเห็น  ประเด็นที่มีการแสดงความคิดเห็น   ๖

ข้อคัดค้านหรือความเห็นของหน่วยงานและผู้เกี่ยวข้องในแต่ละประเด็น  ค าชี้แจงเหตุผลรายประเด็นและการน าผลการรับฟังความคิดเห็นมาประกอบการพิจารณา

จัดท าร่างกฎหมาย

 

ขอรับรองว่าการเสนอร่างพระราชบัญญัติได้ด าเนินการตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วย

การเสนอเรื่องและการประชุมคณะรัฐมนตรีฯ และระเบียบว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการเสนอเรื่อง ต่อคณะรัฐมนตรีฯ แล้ว

ลงชื่อ............................................................

(...........................................................)

หัวหน้าส่วนราชการระดับอธิบดีหรือเทียบเท่า/หัวหน้าหน่วยงาน

วัน/เดือน/ปีที่จัดท า......................................

 

หน่วยงานผู้รับผิดชอบ........................................ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ......................................... หมายเลขติดต่อ...................................................